เมนู

ปรามาสธรรม ที่เกิดก่อน ๆ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลายเป็นปัจจัย
แก่ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่ปรามาสธรรม ที่เกิดหลัง ๆ ด้วยอำนาจของอนันตร-
ปัจจัย.
ปรามาสธรรม และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่ วุฏฐานะ
ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
พึงกระทำมูล (วาระที่ 9)
ปรามาสธรรม ที่เกิดก่อน ๆ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย เป็นปัจจัย
แก่ปรามาสธรรม ที่เกิดหลัง ๆ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของ
อนันตรปัจจัย.

5. สมนันตรปัจจัย ฯลฯ 8. นิสสสยปัจจัย


1. ปรามาสธรรม เป็นปัจจัยแก่ปรามาสธรรม ด้วย
อำนาจของสมนันตรปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย
ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย
ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย มี 5 วาระ.

9. อุปนิสสยปัจจัย


[680] 1. ปรามาสธรรม เป็นปัจจัยแก่ปรามาสธรรม ด้วย
อำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี 3 อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
ปรามาสธรรม เป็นปัจจัยแก่ปรามาสธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสย-
ปัจจัย มี 3 วาระ (วาระที่ 2-3)
4. ธรรมที่ไม่ใช่ปรามาสธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรม
ที่ไม่ใช่ปรามาสธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี 3 อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาแล้ว ให้ทาน ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น
ก่อมานะ.
บุคคลเข้าไปอาศัยศีล ฯลฯ ปัญญา ราคะ โทสะ โมหะ มานะ
ความปรารถนา สุขทางกาย ฯลฯ เสนาสนะแล้ว ให้ทาน ฯลฯ ยังสมาบัติ
ให้เกิดขึ้น ฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทำลายสงฆ์.
ศรัทธา ฯลฯ เสนาสนะ เป็นปัจจัยแก่ศรัทธา ฯลฯ แก่ปัญญา แก่
ราคะ ฯลฯ แก่ความปรารถนา แก่สุขทางกาย ฯลฯ แก่มรรค แก่ผลสมาบัติ
ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
5. ธรรมที่ไม่ใช่ปรามาสธรรมเป็นปัจจัยแก่ปรามาส-
ธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี 3 อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาแล้ว ถือทิฏฐิ.
บุคคลเข้าไปอาศัยศีล ฯลฯ ปัญญา ราคะ ความปรารถนา สุขทางกาย
ฯลฯ เสนาสนะแล้ว ถือทิฏฐิ.
ศรัทธา ฯลฯ เสนาสนะ เป็นปัจจัยแก่ปรามาสธรรม ด้วยอำนาจของ
อุปนิสสยปัจจัย.
6. ธรรมที่ไม่ใช่ปรามาสธรรมเป็นปัจจัยแก่ปรามาส-
ธรรมและธรรมที่ไม่ใช่ปรามาสธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี 3 อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาแล้ว ถือทิฏฐิ.
บุคคลเข้าไปอาศัยศีล ฯลฯ เสนาสนะแล้ว ถือทิฏฐิ.
ศรัทธา ฯลฯ เสนาสนะ เป็นปัจจัยแก่ปรามาสธรรม และสัมปยุตต-
ขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
7. ปรามาสธรรม และธรรมที่ไม่ใช่ปรามาสธรรม
เป็นปัจจัยแก่ปรามาสธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

เป็นอุปนิสสยะ ทั้ง 3
ปรามาสธรรม และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่ปรามาสธรรม
ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย มี 3 วาระ (วาระที่ 7-8-9)

10. ปุเรชาตปัจจัย


[681] 1. ธรรมที่ไม่ใช้ปรามาสธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรม
ที่ไม่ใช่ปรามาสธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย

มี 2 อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ
ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่
บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง
ฯลฯ ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภจักษุเป็นต้นนั้น ราคะ
วิจิกิจฉา อุทธัจจะ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.
บุคคลเห็นรูปด้วยทิพย์จักษุ, ฟังเสียงด้วยทิพโสตธาตุ.
รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ เป็น
ปัจจัยแก่กายวิญญาณ.
ที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่
จักขาตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ เป็นปัจจัยแก่
กายวิญญาณ.
หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่ปรามาสธรรม ด้วย
อำนาจของปุเรชาตปัจจัย.
2. ธรรมที่ไม่ใช่ปรามาสธรรม เป็นปัจจัยแก่ปรา-
มาสธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย

มี 2 อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ
ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่